ITA 2567

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(Integrity and transparency Assessment: ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

 

ข้อ

ข้อมูลการเชื่อมโยง

คำอธิบาย

ข้อมูลพื้นฐาน
o1 โครงสร้าง • แสดงแผนผังโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของหน่วยงาน*
• แสดงตำแหน่งที่สำคัญและการแบ่งส่วนงานภายใน ยกตัวอย่างเช่น สำนัก กอง ศูนย์ ฝ่าย ส่วน กลุ่ม เป็นต้น
* กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ให้แสดงแผนผังโครงสร้าง ทั้งฝ่ายการเมืองและฝ่ายข้าราชการประจำ
o2 ข้อมูลผู้บริหาร • แสดงข้อมูลของผู้บริหารสูงสุด และผู้ดำรงตำแหน่งทางการบริหารของหน่วยงาน
อย่างน้อยประกอบด้วย*
(1) ผู้บริหารสูงสุด
(2) รองผู้บริหารสูงสุด
• แสดงข้อมูลของผู้บริหารแต่ละคน อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) ชื่อ-นามสกุล
(2) ตำแหน่ง
(3) รูปถ่าย
(4) ช่องทางการติดต่อ
* กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ให้แสดงข้อมูลผู้บริหารในฝ่ายการเมือง และฝ่ายข้าราชการประจำ
o3 อำนาจหน้าที่ • แสดงข้อมูลเฉพาะที่อธิบายถึงหน้าที่และอำนาจของหน่วยงาน*
* ต้องไม่เป็นการแสดงข้อมูลกฎหมายทั้งฉบับ
o4 ข้อมูลการติดต่อ • แสดงข้อมูลการติดต่อของหน่วยงาน อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) ที่อยู่หน่วยงาน
(2) หมายเลขโทรศัพท์
(3) E-mail
(4) แผนที่ตั้ง
การประชาสัมพันธ์
o5 ข่าวประชาสัมพันธ์ • แสดงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่หรือภารกิจของหน่วยงาน
• แสดง QR code แบบวัด EIT ของหน่วยงานที่ดาวน์โหลดจากระบบ ITAS ไว้บนหน้าแรกของเว็บไซต์หลัก ของหน่วยงาน เพื่อให้ผู้รับบริการ หรือติดต่อราชการมีโอกาสได้มีส่วนร่วม ในการประเมิน ITA ของหน่วยงาน
• เป็นข้อมูลข่าวสารที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2566
การปฏิสัมพันธ์ข้อมูล
o6 Q&A • แสดงช่องทางการสอบถามข้อมูลต่าง ๆ และหน่วยงานสามารถสื่อสารให้คำตอบ กับผู้สอบถามได้ โดยมีลักษณะเป็น การสื่อสารได้สองทาง (Q&A) ยกตัวอย่างเช่น Messenger Live Chat, Chatbot, Line official Account, Web board*
• สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยัง ช่องทางข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลัก ของหน่วยงาน
*ไม่รวมถึง E-mail
การดำเนินงาน
o7 แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน • แสดงแผนการดำเนินงานตามภารกิจ ของหน่วยงานที่มีระยะมากกว่า 1 ปี ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) ยุทธศาสตร์หรือแนวทาง
(2) เป้าหมายของแต่ละยุทธศาสตร์ หรือแนวทาง
(3) ตัวชี้วัดของเป้าหมายตาม (2)
• เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคับใช้ ครอบคลุมปี พ.ศ. 2567
o8 แผนและความก้าวหน้าในการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี • แสดงแผนการดำเนินงานตามภารกิจ ของหน่วยงานประจําปี พ.ศ. 2567 ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) โครงการหรือกิจกรรม
(2) ผลผลิตของแต่ละโครงการ หรือกิจกรรม
(3) งบประมาณที่ใช้แต่ละโครงการ หรือกิจกรรม
(4) ระยะเวลาในการดำเนินงาน แต่ละโครงการหรือกิจกรรม
• แสดงผลความก้าวหน้าในการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานประจําปี พ.ศ. 2567 ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2567 ที่มีเนื้อหาหรือรายละเอียด ความก้าวหน้า อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) ผลการดำเนินงานของ แต่ละโครงการ/กิจกรรม
(2) ผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ ดำเนินงานแต่ละโครงการ /กิจกรรม
o9 รายงานผลการดำเนินงานประจำปี • แสดงผลการดำเนินงานตามแผนดำเนินงานประจําปี ที่มีรายละเอียดอย่างน้อย ประกอบด้วย
(1) ผลการดำเนินการของ แต่ละโครงการ/กิจกรรม
(2) งบประมาณที่ได้รับจัดสรรและ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ที่ใช้ดำเนินงานแต่ละโครงการ /กิจกรรม
(3) ระยะเวลาในการดำเนินงาน แต่ละโครงการ/กิจกรรม (ระบุเป็น วัน เดือน ปีที่เริ่ม และสิ้นสุดการดำเนินการ)
(4) ปัญหา/อุปสรรค
(5) ข้อเสนอแนะ
• เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566
การปฏิบัติงาน
o10 คู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ • แสดงคู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงาน ที่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานใช้ยึดถือ ปฏิบัติให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) ชื่องาน
(2) วิธีการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
(3) ระยะเวลาการปฏิบัติงานแต่ละ ขั้นตอน
(4) กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
* กรณีมีองค์กรกลางที่มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติ ในเรื่องนั้น หน่วยงานสามารถนำข้อมูลดังกล่าว เผยแพร่ บนเว็บไซต์ของหน่วยงานได้ แต่จะต้องมีองค์ประกอบ ด้านข้อมูลครบตามที่กำหนด
การให้บริการ
o11 คู่มือหรือแนวทางการให้บริการ สำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ* • แสดงคู่มือการให้บริการหรือแนวทาง การปฏิบัติที่ผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ กับหน่วยงานใช้เป็นข้อมูลในการขอรับ บริการหรือติดต่อกับหน่วยงาน* ที่มีรายละเอียดของแต่ละงาน อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) ชื่องาน
(2) วิธีการขั้นตอนการให้บริการ
(3) ระยะเวลาแต่ละขั้นตอน
(4) ช่องทางให้บริการ เช่น สถานที่ ส่วนงานที่รับผิดชอบ
E-Service One Stop Service
(5) ค่ารรรมเนียม (กรณีไม่มี ค่าธรรมเนียม ให้ระบุว่า “ไม่มีค่าธรรมเนียม”)
(6) กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
* กรณีมีองค์กรกลางที่มีหน้าที่ทําหนดมาตรฐาน การให้บริการในเรื่องนั้น หน่วยงานสามารถนำข้อมูล ดังกล่าวเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงานได้ แต่จะต้องมีองค์ประกอบด้านข้อมูลครบตามที่กำหนด
012 ข้อมูลสถิติการให้บริการ • แสดงข้อมูลสถิติการให้บริการตาม ภารกิจของหน่วยงาน ที่มีรายละเอียดของแต่ละงาน อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) จํานวนผู้รับบริการที่เข้ามารับบริการ ณ จุดให้บริการ (Walk-in)
(2) จํานวนผู้รับบริการผ่าน ช่องทาง E-Service
• เป็นข้อมูลสถิติของปี พ.ศ. 2566
o13 E-Service • แสดงระบบการให้บริการ* ผ่านช่องทาง ออนไลน์* ที่ผู้ขอรับบริการไม่ต้อง เดินทางมายังจุดให้บริการ
• แสดงรายละเอียดวิธีการใช้งาน ระบบการให้บริการ
• สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน
*ไม่รวมถึงช่องทางการถาม-ตอบ (Q&A) หรือสื่อสารตามปกติแบบออนไลน์ของหน่วยงาน
การจัดซื้อจัดจ้าง
o14 รายการการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ • แสดงรายการการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานในประเภทงบรายจ่ายหมวดงบลงทุนที่จะมีการดำเนินการ
ในปี พ.ศ. 2567 ทุกรายการ ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) งานที่ซื้อหรือจ้าง
(2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
(3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
(4) วิธีการที่จะดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(5) ช่วงเวลาที่คาดว่าจะเริ่มดำเนินการ
o15 ประกาศต่างๆเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ • แสดงแผนการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. 2560*
• แสดงประกาศการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ยกตัวอย่างเช่น ประกาศเชิญชวน ประกาศผลการจัดซื้อจัดจ้าง
• เป็นข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ในปี พ.ศ. 2567
* กรณีไม่มีการจัดซื้อจัดจ้างฯ ที่มีวงเงินเกิน 5 แสนบาท หรือที่กฎหมายไม่ได้กำหนดให้ต้องเผยแพร่แผนการจัดซื้อ จัดจ้างฯ ให้หน่วยงานอธิบายเพิ่มเติมโดยละเอียด หรือเผยแพร่ว่าไม่มีการจัดซื้อจัดจ้างฯ ในกรณีดังกล่าว
o16 ความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ • แสดงความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานที่มีการลงนามในสัญญาแล้ว ณ วันที่ 31 มีนาคม 2567 ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) งานที่ซื้อหรือจ้าง
(2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
(3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
(4) สถานะการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(5) วิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(6) ราคากลาง (บาท)
(7) ราคาที่ตกลงซื้อหรือจ้าง (บาท)
(8) เลขประจําตัวผู้เสียภาษี/เลขประจําตัว ประชาชนของผู้ประกอบการที่ได้รับ การคัดเลือก
(9) รายชื่อผู้ประกอบการที่ได้รับ การคัดเลือก
(10) เลขที่โครงการ
(11) วันที่ลงนามในสัญญา
(12) วันสิ้นสุดสัญญา
• เป็นข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ในปี พ.ศ. 2567
o17 รายงานสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจําปี • แสดงรายงานสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงาน ทีมีรายละเอียดอย่างน้อย ประกอบด้วย
(1) จํานวนรายการจัดซื้อจัดจ้างฯ จําแนกตามวิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(2) งบประมาณที่ใช้ในการจัดซื้อจัดจ้างฯ จําแนกตามวิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ (บาท)
(3) ปัญหา/อุปสรรค
(4) ข้อเสนอแนะ
• แสดงผลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงาน ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) งานที่ซื้อหรือจ้าง
(2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
(3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
(4) สถานะการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(5) วิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(6) ราคากลาง (บาท)
(7) ราคาที่ตกลงซื้อหรือจ้าง (บาท)
(8) เลขประจําตัวผู้เสียภาษี/เลขประจําตัว ประชาชนของผู้ประกอบการที่ได้รับ การคัดเลือก
(9) รายชื่อผู้ประกอบการที่ได้รับ การคัดเลือก
(10) เลขที่โครงการ
(11) วันที่ลงนามในสัญญา
(12) วันสิ้นสุดสัญญา
• เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
o18 แผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล • แสดงแผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) โครงการหรือกิจกรรม
(2) งบประมาณที่ใช้แต่ละโครงการหรือกิจกรรม
(3) ระยะเวลาในการดำเนินการแต่ละโครงการหรือกิจกรรม
• เป็นแผนฯ ที่มีความครอบคลุมทั้งด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลและด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ซึ่งบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2567
o19 รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจําปี • แสดงผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) โครงการหรือกิจกรรม
(2) ผลการดำเนินการของแต่ละโครงการ/ กิจกรรม
(3) งบประมาณที่ได้รับจัดสรรและผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ดำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(4) ระยะเวลาในการดำเนินการ (ระบุเป็นวัน เดือน ปีที่เริ่ม และสิ้นสุดการดำเนินการ)
(5) ข้อมูลสถิติอัตรากำลัง จําแนกตาม ประเภทตำแหน่ง
(6) ข้อมูลสถิติจํานวนผู้เข้ารับการฝึกอบรมหรือพัฒนาทรัพยากรบุคคล
(7) ปัญหา/อุปสรรค
(8) ข้อเสนอแนะ
• เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566
o20 ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ • แสดงประมวลจริยธรรมสําหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
*กรณีประมวลจริยธรรมจะต้องดำเนินการโดยองค์กรที่มีหน้าที่ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยกรรม พ.ศ. 2562
* กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องแสดงประมวลจริยธรรมจํานวน 3 ฉบับ ได้แก่ ประมวลจริยธรรมผู้บริหารท้องถิ่น ประมวลจริยธรรมสมาชิกสภาท้องถิ่น และประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น เรื่อง ประมวลจริยธรรมพนักงานส่วนท้องถิ่น
o21 การขับเคลื่อนจริยธรรม • แสดงผลการเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรม ให้แก่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) การจัดตั้งทีมให้คำปรึกษาตอบคำถาม ทางจริยธรรมหรือคณะทํางาน ขับเคลื่อนเรื่องจริยธรรม โดยให้ แสดงเป็น คำสั่งแต่งตั้งที่เป็นทางการ
(2) แนวปฏิบัติ Dos & Don’ts เพื่อลดความสับสนเกี่ยวกับพฤติกรรม สีเทาและเป็นแนวทางในการประพฤติตน ทางจริยธรรม ที่จัดทําขึ้นโดยหน่วยงาน
(3) การฝึกอบรมที่มีการสอดแทรกสาระ ด้านจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในหลักสูตร หรือกิจกรรมเสริมสร้าง/ ส่งเสริมจริยธรรมที่ดำเนินการ โดยหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2567
การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
022 แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ • แสดงคู่มือหรือแนวทางการดำเนินการต่อเรื่อง ร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ ของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) รายละเอียดของข้อมูลที่ผู้ร้องควรรู้ เพื่อใช้ในการร้องเรียน เช่น ชื่อ-สกุลของ ผู้ถูกร้อง ช่วงเวลาการกระทําความผิด พฤติการณ์การทุจริตและประพฤติมิชอบ
(2) ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต และประพฤติมิชอบ
(3) ขั้นตอนหรือวิธีการในการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต และประพฤติมิชอบ
(4) ส่วนงานที่รับผิดชอบ
(5) ระยะเวลาดำเนินการ
o23 ช่องทางการแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ • แสดงช่องทางออนไลน์ที่บุคคลภายนอกสามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน โดยต้องแยก ต่างหากจากช่องทางการร้องเรียนทั่วไป
• เป็นช่องทางที่มีการคุ้มครองข้อมูล ของผู้แจ้งเบาะแส
• สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทาง ข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน
o24 ข้อมูลสถิติการร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ • แสดงข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริต และประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) จํานวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมด
(2) จํานวนเรื่องที่ดำเนินการแล้วเสร็จ
(3) จํานวนเรื่องที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
• เป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2566
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
o25 การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม • แสดงผลการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามภารกิจ ของหน่วยงาน ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) ประเด็นหรือเรื่องในการมีส่วนร่วม
(2) สรุปข้อมูลของผู้มีส่วนร่วม
(3) ผลจากการมีส่วนร่วม
(4) การนําผลจากการมีส่วนร่วมไปปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงานของหน่วยงาน
• เป็นการดำเนินการโดยหน่วยงานในปี พ.ศ. 2567
นโยบาย No Gift Policy*
o26 ประกาศเจตนารมณ์นโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่ • เป็นประกาศฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ* อย่างเป็นทางการที่ลงนามโดยผู้บริหารสูงสุด ที่ดำรงตำแหน่งในปี พ.ศ. 2567
• มีวัตถุประสงค์เพื่อประกาศว่าผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกคนในหน่วยงานจะไม่รับของขวัญและของกำนัลทุกชนิดในขณะ/ก่อน/หลังปฏิบัติหน้าที่ ที่จะส่งผลให้เกิดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
• เป็นการประกาศสําหรับปี พ.ศ. 2567
* การประกาศฯ ให้ประกาศในทุกปีงบประมาณ (ถึงแม้ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานยังเป็นบุคคลเดิม)
o27 การสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy • แสดงการดำเนินกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อปลุกจิตสำนึกหรือสร้างวัฒนธรรมให้ เจ้าหน้าที่ในการปฏิเสธการรับของขวัญ และของกำนัลทุกชนิดจากการปฏิบัติหน้าที่
• เป็นการดำเนินกิจกรรมในลักษณะการประชุมการสัมมนา เพื่อถ่ายทอดหรือมอบนโยบายหรือเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
• เป็นการดำเนินการโดยหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2567
o28 รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy • แสดงรายงานการรับของขวัญและของกำนัล ตามนโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติ หน้าที่สําหรับหน่วยงาน
• เป็นรายงานผลในภาพรวมของหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2566
o29 รายงานการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยา • แสดงรายงานการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ อื่นใดโดยธรรมจรรยาสําหรับหน่วยงาน ตามมาตรา 128 แห่งพระราชบัญญัติประกอบ รัฐรรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561
• เป็นรายงานผลในภาพรวมของหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2566
การประเมินความเสี่ยงเพื่อป้องกันการทุจริต
o30 การประเมินความเสี่ยงการทุจริตในประเด็นที่เกี่ยวกับสินบน • แสดงผลการประเมินความเสี่ยงการทุจริต ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสินบนของการดำเนิน งานหรือการปฏิบัติหน้าที่ ตามภารกิจของหน่วยงาน อย่างน้อยประกอบด้วยประเด็นดังต่อไปนี้
(1) การอนุมัติ อนุญาต ตามพระราชบัญญัติ การอำนวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาต ของทางราชการ
พ.ศ. 2558*
(2) การใช้อำนาจตามกฎหมาย/ การให้บริการตามภารกิจ
(3) การจัดซื้อจัดจ้าง
(4) การบริหารงานบุคคล
• ในการประเมินความเสี่ยงการทุจริต แต่ละประเด็น ต้องมีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) เหตุการณ์ความเสี่ยงและระดับ ของความเสี่ยง
(2) มาตรการในการบริหารจัดการ ความเสี่ยง
• เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2567
* กรณีหน่วยงานที่ไม่มีภารกิจการอนุมัติ อนุญาต ตามพระราชบัญญัติ การอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 ให้ระบุว่า “ไม่มีความเสี่ยงการทุจริตในประเด็น การรับสินบนในกระบวนงานอนุมัติ อนุญาต เนื่องจากหน่วยงาน ไม่มีภารกิจการอนุมัติ อนุญาต ตามพระราชบัญญัติการอำนวย ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558”
o31 รายงานผลการดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปี • แสดงผลการประเมินความเสี่ยงและผลการดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจําปี พ.ศ. 2566 ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) เหตุการณ์ความเสี่ยงและระดับ ของความเสี่ยง
(2) มาตรการในการบริหารจัดการ ความเสี่ยง
(3) ผลการดำเนินการตามมาตรการหรือการดำเนินการเพื่อบริหารจัดการความเสี่ยง
แผนป้องกันการทุจริต
o32 แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต • แสดงแผนปฏิบัติการที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อป้องกันการทุจริตหรือส่งเสริมมาตรฐาน จริยธรรม หรือธรรมาภิบาลที่จัดทําโดยหน่วยงาน ที่มีรายละเอียดอย่างน้อย ประกอบด้วย
(1) โครงการ/กิจกรรม
(2) งบประมาณแต่ละโครงการ/กิจกรรม*
(3) ระยะเวลาดำเนินการแต่ละโครงการ/ กิจกรรม
• เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคับใช้ครอบคลุม ปี พ.ศ. 2567
*กรณีการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ไม่ใช้งบประมาณ ให้ระบุในแผนว่าไม่ได้ใช้งบประมาณดำเนินการ
o33 รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจําปี • แสดงผลการดำเนินการที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อป้องกันการทุจริตหรือส่งเสริมมาตรฐาน จริยกรรม หรือธรรมาภิบาล ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) ผลดำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(2) รายละเอียดงบประมาณที่ใช้ดำเนินการ แต่ละโครงการ/กิจกรรม*
(3) ปัญหา/อุปสรรค
(4) ข้อเสนอแนะ
• เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566
*กรณีการดำเนินโครงการ/กิจกรรมที่ไม่ใช้งบประมาณ ให้ระบุในผลว่าไม่ได้ใช้งบประมาณดำเนินการ
มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส่ภายในหน่วยงาน
o34 มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน • แสดงการวิเคราะห์ผลการประเมินคุณรรรมและ ความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐ ในปี พ.ศ. 2566″ ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วยประเด็น ดังต่อไปนี้
(1) กระบวนการปฏิบัติงานที่โปร่งใส และมีประสิทธิภาพ
(2) การให้บริการและระบบ E-Service
(3) ช่องทางและรูปแบบการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารภาครัฐ
(4) กระบวนการกำกับดูแลการใช้ทรัพย์สิน ของราชการ
(5) กระบวนการสร้างความโปร่งใส ในการใช้งบประมาณและการจัดซื้อจัดจ้าง
(6) กระบวนการควบคุม ตรวจสอบ การใช้อำนาจและการบริหารงานบุคคล
(7) กลไกและมาตรการในการแก้ไข และป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน
• แสดงการกำหนดวิธีการนําผลการวิเคราะห์ แต่ละประเด็นไปสู่การปฏิบัติ” ที่มีรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) วิธีการนําผลการวิเคราะห์ไปสู่การปฏิบัติ
(2) การกำหนดผู้รับผิดชอบ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
(3) การกำหนดขั้นตอนหรือวิธีการปฏิบัติ
(4) ระยะเวลา
• แสดงการวิเคราะห์ข้อจํากัดของหน่วยงาน ในการดำเนินการประเมินคุณรรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ
* กรณีหน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินฯ เป็นครั้งแรก ให้หน่วยงานวิเคราะห์ตามประเด็นที่กำหนดโดยคำนึงถึงบริบท
และการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน
o35 รายงานผลการดำเนินการ เพื่อส่งเสริมคุณรรรม และความโปร่งใส ภายในหน่วยงาน • แสดงผลการดำเนินการเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงานตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส ภายในหน่วยงาน” ที่มีรายละเอียดอย่างน้อย ประกอบด้วย
(1) มาตรการหรือกิจกรรมที่ดำเนินการ เพื่อส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส ภายในหน่วยงาน
(2) สรุปผลการดำเนินการตามมาตรการหรือกิจกรรม
(3) ผลลัพธ์หรือความสําเร็จของการดำเนินการ
• เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2566
* กรณีหน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินฯ เป็นครั้งแรก ให้หน่วยงานรายงานตามประเด็นที่ทําหนดโดยคำนึงถึงบริบท และการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน