แบบประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA)
LPA 2567
ด้านที่ 1
ด้านที่1
ข้อที่ 3 การจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการควบคุมภายในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3.แจ้งแนวทางการประเมินผลการควบคุมภายใน ให้สำนัก/กอง ทราบ
4.จัดทำหนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายในตามแบบที่กำหนด (แบบ ปค.1)
5.จัดทำรายงานการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายในตามแบบที่กำหนด (แบบ ปค.4)
6.จัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในตามแบบที่กำหนด (แบบ ปค.5)
7.จัดทำรายงานการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายในตามแบบที่กำหนด (แบบ ปค.6)
ข้อที่ 4 ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติงานตรวจสอบได้อย่างมีประสิทธิภาพตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนด
2.กำหนดนโยบายและวิธีการปฏิบัติงานตรวจสอบ
3.จัดทำและเสนอแผนการตรวจสอบประจำปีต่อผู้บริหารท้องถิ่น เพื่อพิจารณาอนุมัติภายในเดือนกันยายน
4.ปฏิบัติงานตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจำปีที่ได้รับอนุมัติครบถ้วน
ข้อ 7.การจัดทำรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในระดับหน่วยงานของรัฐ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
7.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการควบคุมภายในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
7.2 รายงานการประเมินผลการควบคุมภายในตามแบบที่กำหนด แบบ ปค.1 แบบ ปค.4 แบบ ปค.5 และแบบ ปค.6
7.3 หนังสือนำส่งรายงานให้นายอำเภอ หรือสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด แล้วแต่กรณี
ข้อ 8.ผู้ตรวจสอบภายในปฏิบัติงานตรวจสอบได้อย่างมีประสิทธิภาพตามหลักเกณฑ์ฯ ที่กระทรวงการคลังกำหนด
8.2 กฎบัตรที่ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาให้ความเห็นชอบ
8.3 เอกสารหลักฐานที่แสดงถึงการเผยแพร่กฎบัตร หน่วยรับตรวจทราบ
8.4 เอกสารหลักฐานที่แสดงถึงการสอบทาน ความเหมาะสมของกฎบัตรอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
8.5 แผนการตรวจสอบประจำปี ที่ได้รับอนุมัติจากผู้บริหารท้องถิ่น
8.7 เอกสารหลักฐานที่แสดงถึงการติดตามผล การดำเนินการตามข้อเสนอแนะจากรายงานผลการตรวจสอบ
LPA 2567
ด้านที่ 5 ธรรมาภิบาล
84.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำแผน/แนวทางเพื่อการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตหรือการส่งเสริมความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาลในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(มีการดำเนินการครบทุกข้อ)
1. มีการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต (พ.ศ. 2566 – 2570)
2. มีการประกาศให้ประชาชนได้ทราบถึงแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต (พ.ศ. 2566 – 2570) และเผยแพร่บนเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
85.การส่งเสริมบทบาทและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน (Participation)
(มีการดำเนินการครบทุกข้อ)
1. จัดให้มีและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่เป็นการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนได้มีส่วนร่วมตรวจสอบการปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ทุกขั้นตอน
2. มีการจัดทำฐานข้อมูลเปิดภาครัฐ (Open Data) บนเว็บไซต์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และมีการปรับปรุงฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
3. มีการรับฟังความคิดเห็น การรับและตอบสนองเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ของประชาชน โดยจะต้องมีช่องทางการรับฟังความคิดเห็นต่อการดำเนินงานผ่านทางออนไลน์หรือเว็บไซต์เป็นขั้นต่ำ
4. มีคณะกรรมการหรือคณะทำงานที่มีตัวแทนภาคประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเป็นองค์ประกอบในสัดส่วนที่มีผลต่อการตัดสินใจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเรื่องนั้น ๆ
5. มีการจัดประชุมประชาคมท้องถิ่นที่มีการปรึกษาหารือร่วมกับภาคประชาชนและภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีองค์ประกอบจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในจำนวนที่เหมาะสม โดยต้องมีการนำสรุปผลความคิดเห็นไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
6. มีการจัด/สนับสนุน/ส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้ารับฟังการประชุมสภาท้องถิ่นได้โดยสะดวก
7. มีการจัดทำระเบียบสภาท้องถิ่นว่าด้วยการดำเนินการของประชาชนในการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ. ….. ให้สอดคล้องกับ พ.ร.บ. การเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ. 2565
86.การส่งเสริมด้านคุณธรรมและจริยธรรม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งการส่งเสริมและพัฒนาให้ข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่นรักษาวินัย
(มีการดำเนินการครบทุกข้อ) และในรอบปีไม่มีข้าราชการถูกดำเนินการทางวินัย
1. มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาลและป้องกันการทุจริต
2. มีการดำเนินการโครงการหรือกิจกรรมลักษณะส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลโดยผู้บริหารท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมจริง อย่างน้อย 3 โครงการ หรือ 3 กิจกรรม และแสดงผลการดำเนินงานดังกล่าว ให้สาธารณชนรับทราบทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3. มีการดำเนินการโครงการหรือกิจกรรมลักษณะส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลโดยผู้บริหารท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมจริง อย่างน้อย 3 โครงการ หรือ 3 กิจกรรม และแสดงผลการดำเนินงานดังกล่าว ให้สาธารณชนรับทราบทางเว็บไซต์หลักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
4. มีการเข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม หรือการป้องกันการทุจริตของอำเภอ/จังหวัด หรือหน่วยงานราชการ ป.ป.ช. ป.ป.ท. สถาบันพระปกเกล้า สถาบันพัฒนาบุคคลากรท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ มหาวิทยาลัย วิทยาลัย โรงเรียน องค์การมหาชน สมาคม มูลนิธิ องค์กรภาคประชาสังคม ฯลฯ
5. มีการจัดทำรายงานผลด้านการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมให้ผู้บริหารท้องถิ่นรับทราบ
6. มีการประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินการด้านส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม (ไม่รวมการประชาสัมพันธ์ตามข้อ 3.)
87.ระดับคะแนนแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment : EIT) ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ได้รับคะแนน EIT ร้อยละ 95 ขึ้นไป
อบต.ดงชน คะแนน EIT ได้ร้อยละ 96.81
NACC-ITA256688.ระดับคะแนนแบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment : IIT) ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ได้รับคะแนน IIT ร้อยละ 95 ขึ้นไป
อบต.ดงชน คะแนน IIT ได้ร้อยละ 97.95
NACC-ITA256689.ระดับคะแนนแบบวัดการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ได้รับคะแนน OIT ร้อยละ 95 ขึ้นไป
NACC-ITA2566อบต.ดงชน คะแนน OIT ได้ร้อยละ 100